dot dot


Facebook page
BAMBI
WBW
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย
ศูนย์นมแม่แห้งประเทศไทย
Birth a Baby by Silk Laef


การใช้แม็กนีเซียม วัลเฟตในภาวะชักจากครรภ์เป็นพิษ ( Magnesium sulfate for treaing eclampsia)

อีแคลมเซีย (eclampsia) หรืออาการชักจากครรภ์เป็นพิษ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายชนิดหนึ่งในการตั้งครรภ์ เป็นเหตุให้ 10% ของคุณแม่ที่ตั้งครรภ์เสียชีวิตต่อปีทั่วโลก ปัจจุบันได้มีการรักษาอาการอีแคลมเซียด้วยการใช้ยาแก้ชัก (anti-convulsant) มาควบคุมโรคนี้ และป้องกันไม่ให้อากรชักเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ชักต่าง ๆ ที่เคยนำมารักษาโรคนี้ได้แก่ ไดซีแพ็ม (Diazepam (Valium)) เฟ็นนิโทอิน (Phenytoin) และลิททิค ค็อกทล (Lytic cocktail) แต่ด้วยยาที่รักษาอาการนี้ได้ดีที่สุดคือ ยาแม็กนีเซียม ซัลเฟต ผลการวิจัยต่าง ๆ ได้พิสูจน์แล้วว่าแม็กนีเซียม ซัลเฟตเป็นยาแก้ชักจากครรภ์เป็นพิษที่มีประสิทธิภาพมากกว่ายาแก้ชักประเภทอื่น นอกจากนั้นยาตัวนี้ยังมีราคาไม่แพงและใช้ง่ายอีกด้วย เพราะฉะนั้นควรใช้แม็กนีเซียม ซัลเฟตเป็นกิจวัตรเพื่อรักษาคุณแม่ที่มีอาการชักจากครรภ์เป็นพิษ

ผลดี

เมื่อเปรียบเทียบกับยาแก้ชักอื่น ๆ แล้ว แม็กเนเซียม ซัลเฟตมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

• มีความสัมพันธ์กับการลดโอกาสที่จะชักอีกมากที่เดียว

• อาจลดความสี่ยงต่อการเสียชีวิตของคุณแม่

• อาจลดโอกาสที่คุณแม่จะต้องเข้าไปอยู่ในห้องไอซียู (ICU)

• มีราคาไม่แพง และใช้ง่าย

ผลเสีย

• ต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด เพราะยาตัวนี้มีความเสี่ยงต่อการกำการหายใจให้ต่ำผิดปกติ (respiratory depression)

References:

1. Duley L, Henderson-Smart D. Magnesium Sulphate versus diazeparn for eclampsia (Cochrane Review). In: the Cochrane Library. Issue 2, 2001. Oxford: Update Software.

2. Duley L. Gulmezoglu AM. Magnesium Sulphate versus lytic cocktail for eclampsia (Cochrane Review). In: The Cochrane Library. Issue 2, 2001. Oxford: Update Software,

3. Duley L, Henderson-Smart D. Magnesium Sulphate versus phenytoin for eclampsia (Cochrane Review). In: the Cochrane Library. Issue 2, 2001. Oxford: Update Software, e software




การคลอดวิถีธรรมชาติ - Active Birth

การคลอดวิถีธรรมชาติ ดีกับตัวคุณแม่และคุณลูกอย่างไร article
การดูแลเพื่อช่วยให้แม่คลอดได้เอง
ทำอะไรได้อีกบ้างเมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด
การคลอดวิถีธรรมชาติ
ทำอย่างไรเราจึงะคลอดวิถีธรรมชาติได้
การเคลื่อนไหวในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Mobility during labour )
สรีระร่างกายแม่ กับการเจ็บครรภ์คลอด
คลอดในน้ำ ช่วยให้ลูกรักสัมผัสธรรมชาติตั้งแต่แรกคลอด
เด็กที่คลอดธรรมชาติ ท้องไม่เสียง่ายๆ article
การใช้ท่าต่างๆระหว่างการคลอด ( Position during birth )
วิถึธรรมชาติเพื่อการคลอดธรรมชาติ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลการคลอด วิถีธรรมชาติ” article
การรับประทานอาหารและดื่มน้ำในช่วงเจ็บครรภ์คลอด (Fluids and food during labour)
สนับสนุนการมีคนอยู่เป็นเพื่อนในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Encourage companionship during labour )
การใช้ออกซิโตซินในระยะที่ 3 ของการคลอด ( Oxytocin in the third stage of labour )
กลยุทธในการลดการถ่านทอดเชื้อไวรัส HIV จากแม่สู่ลูก ( Stratrgies to reduce mother-to child transmition of HIV)
การลดการเจาะถุงน้ำคร่ำเร็วเกินไป ( Reduce use of early amniotomy )
ดูดน้ำมเมื่อกจากปาก คอ และจมูกของทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาในน้ำตร่ำเท่านั้น ( Reserve suctioning for babies with meconium present)
ไม่จำเป็นต้องมีการสวนอุจจาระเสมอไป (Enema is not always necessary)
หยุดการโกนขนบริเวณหัวหน่าว (Stop pubic shaving)
หลีกเลี่ยงการตัดฝีเย็บ (Avoid epistomy)
คลอดในนำ แบบธรรมชาติ
การคลอดไม่ใช่การเจ็บป่วย article
การดูแลคลอดแบบสนับสนุนให้แม่คลอดได้เอง article
ก่อนคลอดควรรู้อะไร



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
เริ่มแรกอย่างมีพลัง กินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด Breastfeeding in first one hour save one million babies.