dot dot


Facebook page
BAMBI
WBW
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย
ศูนย์นมแม่แห้งประเทศไทย
Birth a Baby by Silk Laef


การคลอดวิถีธรรมชาติ - Active Birth

การริเริ่มการคลอดที่ดี (Better Births Initiative)

การเป็นผู้ดูแลคุณแม่ในช่วงตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลหรือสถานนีอนามัยนั้น คุณคงจะได้ใช้วิธีปฎิบัติ วิธีตรวจเช็ค และวิธีแทรกแซงต่าง ๆ เพื่อที่จะบริหารการเจ็บครรภ์คลอด การเตรียมการทำคลอดที่ดี



คลอดธรรมชาติดีอย่างไรการคลอดวิถีธรรมชาติ ดีกับตัวคุณแม่และคุณลูกอย่างไรarticle

การคลอดวิถีธรรมชาติ ดีกับตัวคุณแม่และคุณลูกหรือไม่

  • ลูกคุณแม่จะเกิดมาเมื่อเขาได้เจริญเติบโตอย่างเต็มที่ขณะที่ยังอยู่ในมดลูก และมีความพร้อมที่จะคลอด
การดูแลเพื่อช่วยให้แม่คลอดได้เอง

การดูแลเพื่อช่วยให้แม่คลอดได้เอง (Active Birth)

เป็นแนวของการดูแลเอาใจใส่ เพื่อที่จะช่วยให้คุณแม่และลูกได้รับประสบการณ์การคลอดที่ปลอดภัยและง่ายที่สุด "การดูแลเพื่อช่วยให้แม่คลอดได้เอง" จะช่วยให้คุณแม่สามารถคลอดลูกได้โดยวิถีธรรมชาติได้ เพราะจะสามารถ

ทำอะไรได้อีกบ้างเมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด

จะทำอะไรได้อีกบ้างเมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด
- ควรพักอยู่ที่บ้านก่อนในระยะเวลานานเท่าที่คุณแม่มีความสุขและพอใจที่จะอยู่ที่บ้าน ไม่ต้องรีบมาโรงพยาบาลตั้งแต่เริ่มเจ็บครั้งแรก
- ควรหาคนมาอยู่เป็นเพื่อน เช่น สามี ญาติ หรือเพื่อนสนิท....
 

การคลอดวิถีธรรมชาติ

เมื่อพูดถึงการคลอดวิถีธรรมชาติ คนส่วนใหญ่จะหมายถึงอะไร
- ลูกของคุณแม่จะคลอดเมื่อเขามีความพร้อม 

 

ทำอย่างไรเราจึงะคลอดวิถีธรรมชาติได้
การเคลื่อนไหวในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Mobility during labour )

ในระยะที่ 1 ของการคลอด คุณอาจจะชอบให้คุณแม่อยู่บนเตียงและนอนหงาย เพื่อที่จะทำให้ง่ายต่อการตรวจและการติดตามความคืบหน้า มีการวิจัยมากมายที่เสนอแนะว่า ท่านอนหงายจะกระทบกระเทือนระบบการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูก ........

สรีระร่างกายแม่ กับการเจ็บครรภ์คลอด

สรีระร่างกายแม่ กับการเจ็บครรภ์คลอด โดยนพ.เอกชัย โควาวิสารัช

ทราบไหมว่า ความเจ็บปวดที่รุนแรงที่สุดเท่าที่มนุษย์เคยประสบมาในโลกนี้คือ ความเจ็บปวดตอนไหน ลองเดาดูสิครับ แต่ขอบอกใบ้สักนิดว่า คุณผู้หญิงที่เป็นคุณแม่เคยมีประสบการณ์ความเจ็บปวดชนิดนี้มาแล้วทุกคน ใช่แล้วครับ การเจ็บครรภ์คลอดเป็นความเจ็บปวดที่รุนแรงที่สุดนั่นเอง

คลอดในน้ำ ช่วยให้ลูกรักสัมผัสธรรมชาติตั้งแต่แรกคลอด

การคลอดในน้ำเป็นหนึ่งในการคลอดวิธีธรรมชาติซึ่งมีมานานแล้วในต่างประเทศแต่เพิ่งเป็นที่รู้จักในประเทศไทยเมื่อประมาณสิบกว่าปีที่ผ่านมานี้ โดย นายแพทย์ธนิต หัพพานนท์ สูติแพทย์ประจำโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ผู้เชี่ยวชาญด้านการคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ (Active Birth) และผู้ก่อตั้งมูลนิธิส่งเสริมการคลอด และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย เป็นผู้ริเริ่มการคลอดในน้ำในประเทศไทย ในปี ค.ศ.1994 ซึ่งก็ได้รับความสนใจจากคุณแม่จำนวนมาก

เด็กที่คลอดธรรมชาติ ท้องไม่เสียง่ายๆarticle

 

คลอดธรรมชาติ สร้างภูมิร่างกายท้องไส้ไม่เสียง่าย

พวกเขาคิดว่าระหว่างที่ทารกดันตัวเองออกจากช่องคลอดเพื่อลืมตามาดูโลกนั้นทารกอาจสวาปามเอาแบคทีเรียที่อยู่ตามช่องคลอดเหล่านี้เข้าไปด้วย เมื่อแบคทีเรียเหล่านี้ผ่านเข้าไปในลำไส้ทารก มันจะกระตุ้นเซลล์ของลำไส้ให้ทำงาน เพียงแค่ครั้งเดียวกับเพียงพอที่ทำให้เซลล์ทำความรู้จักกับแบคทีเรียพวกนี้แล้ว หากวันข้างหน้าเจอกันอีกก็จะไม่ลงไม้ลงมือทำร้ายกัน

 

การใช้ท่าต่างๆระหว่างการคลอด ( Position during birth )

ในระยะที่ 2 ของการคลอด คุณแม่ส่วนใหญ่จะถูกจำกัดให้นอนหงาย มีการศึกษามากมายที่เสนอแนะว่า ท่าลำตัวตั้งขึ้น (upright) จะเป็นท่าที่มีประโยชน์มากกว่าท่านอนหงาย การที่อยู่ในท่าลำตัวตั้งขึ้น จะมีความสัมพันธ์กับการลดอาการเจ็บครรภ์ ลดความอึดอัด ลดโอกาสที่.........

วิถึธรรมชาติเพื่อการคลอดธรรมชาติ

 วิถีธรรมชาติ เพื่อการคลอดธรรมชาติ

     ด้วยความสัมพันธ์ของร่างกายระหว่างแม่กับลูก ที่ธรรมชาติมองกลไกอันมหัศจรรย์ไว้ให้ในระหว่างการคลอด คงช่วยยืนยันว่ายังไง้ ยังไง… การคลอดธรรมชาติก็เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด   แต่เพื่อให้การคลอดนี้สมบูรณ์ที่สุดการเตรียมพร้อมเพื่อการคลอดทั้งกายและใจเป็นสิ่งสำคัญค่ะ
      85% ของผู้หญิงท้องสามารถคลอดธรรมชาติได้      จะเห็นว่าเดี๋ยวนี้เด็กเกิดมาเดือนละเกือบแสนคน
      แต่พอมาดูกันว่าเดี๋ยวนี้คุณแม่ทั้งหลายกลับกังวลว่าเราจะต้องเตรียมตัวอย่างไรที่จะคลอดได้ 
     

การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลการคลอด วิถีธรรมชาติ” article

 การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลการคลอด วิถีธรรมชาติ” จัดโดย สภาการพยาบาล และมูลนิธิส่งเสริมการคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย ในวันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2566  ณ ห้องประชุม นครินทรศรี ในกระทรวงสาธารณสุข โดยมีวัตถุประสงค์สนับสนุนและส่งเสริมการคลอดโดยวิถีธรรมชาติ ด้วยการพัฒนาพยาบาลผดุงครรภ์ ให้มีสมรรถนะในการดูแลและช่วยทำคลอดตามวิถีธรรมชาติ ทีผู้คลอดและครอบครัวเชื่อมั่นและไว้วางใจ ด้วยการร่วมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มสมรรถนะพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลการคลอดโดยวิถีธรรมชาติ  ลงทะเบียน ติดต่อ ดร.ธนพร แย้มสุดา โทร.025967591

การรับประทานอาหารและดื่มน้ำในช่วงเจ็บครรภ์คลอด (Fluids and food during labour)
โรงพยาบาลส่วนใหญ่จะแนะนำให้คุณแม่งดอาหาร และน้ำในช่วงเจ็บครรภ์คลอด เหตุผลของการแนะนำเช่นนี้คือ กลัวมีการสำลักอาหารหรือน้ำย่อยในช่วงที่คุณแม่ได้รับการดมยา การให้คำแนะนำในเรื่องนี้เป็นสิ่งสำคัญมาก ............
สนับสนุนการมีคนอยู่เป็นเพื่อนในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Encourage companionship during labour )
มีหลักฐานเสนอแนะว่าคุณแม่ที่ได้รับการดูแลตลอดช่วงเจ็บครรภ์คลอดจากสามี เพื่อน ญาติ หรือบุคคลใกล้ชิจะได้รับประโยชน์มากมาย การมีคนอยู่เป็นเพื่อนสามารถให้ความช่วยเหลือโดยการให้กำลังใจ ให้ความอบอุ่น ให้ความสนับสนุน ให้การสัมผัส และให้คุณแม่ได้อยู่ใกล้ชิดกับคนที่คุ้นหน้า.............
การใช้แม็กนีเซียม วัลเฟตในภาวะชักจากครรภ์เป็นพิษ ( Magnesium sulfate for treaing eclampsia)
อีแคลมเซีย (eclampsia) หรืออาการชักจากครรภ์เป็นพิษ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายชนิดหนึ่งในการตั้งครรภ์ เป็นเหตุให้ 10% ของคุณแม่ที่ตั้งครรภ์เสียชีวิตต่อปีทั่วโลก................
การใช้ออกซิโตซินในระยะที่ 3 ของการคลอด ( Oxytocin in the third stage of labour )
การตกเลือดหลังคลอด (pastpartum haemorrhage) เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คุณแม่หลายคนเสียชีวิต มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาจลดปริมาณเลือดที่ออกมาหลังคลอดได้โดยการแทรกแซงการทำคลอดในระยะที่ 3 ............
กลยุทธในการลดการถ่านทอดเชื้อไวรัส HIV จากแม่สู่ลูก ( Stratrgies to reduce mother-to child transmition of HIV)
มีเด็กจำนวนมากที่เริ่มได้รับเชื้อไวรัส HIV จากคุณแม่ของเขา อัตราความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อไวรัส HIV จากแม่สู่ลูก ( Mother-to-child transmission (MTCT)) จะมีอยู่ประมาณ 25-25% ในประเทศแอฟริกา แต่ในปัจจุบันได้มีวิธีการแทรกแซงต่าง ๆ ซึ่งสามารถลดความเสี่ยง..........................
การลดการเจาะถุงน้ำคร่ำเร็วเกินไป ( Reduce use of early amniotomy )
การเจาะถุงน้ำคร่ำ (artificial rupture of membranes) เป็นส่วนประกอบของการแทรกแซงระหว่างคลอด (active management of labour) ที่ได้มีการปฎิบัติกันมานานในหลายทศวรรษแล้ว มีความเชื่ออยู่ว่า...................
ดูดน้ำมเมื่อกจากปาก คอ และจมูกของทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาในน้ำตร่ำเท่านั้น ( Reserve suctioning for babies with meconium present)
การดูดน้ำเมือกจากปาก คอ และจมูกของทารกแรกเกิดเป็นกิจวัตรไม่มีความจำเป็น และอาจทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงได้ การดูดน้ำเมือกในกรณีที่ไม่จำเป็นนั้นเพิ่มความเสี่ยง...........
ไม่จำเป็นต้องมีการสวนอุจจาระเสมอไป (Enema is not always necessary)
การสวนอุจจาระในช่วงเตรียมคลอดนั้นยังมีการทำอยุ่อย่างแพร่หลาย แต่การสวนอุจจาระอาจไม่จำเป็นเสมอไป นอกจากจะทำให้คุณแม่รู้สึกไม่สบายแล้ว ยังทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย.................
หยุดการโกนขนบริเวณหัวหน่าว (Stop pubic shaving)
ในอดีตการโกนขนบริเวณหัวหน่าวในช่วงเตรียมคลอดเป็นสิ่งที่ปฎิบัติกันเป็นกิจวัตร มีความเชื่ออยู่ว่าการกระทำนี้มีประโยชน์มาก แต่ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า การโกนขนบริเวณหัวหน่าวไม่มีความจำเป็นที่จะต้องทำ.................
หลีกเลี่ยงการตัดฝีเย็บ (Avoid epistomy)
การตัดผิวหนัง และกล้ามเนื้อรอบ ๆ ปากช่องคลอด เพื่อที่จะให้ทารกคลอดออกมาได้ เป็นวิธีปฎิบัติที่ทำกันอยู่เป็นกิจวัตรใรหลายประเทศ โดยเฉพาะกับการคลอดครั้งแรก ผดุงครรภ์ และแพทย์ให้เหตุผลของการตัดฝีเย็บว่า................
คลอดในนำ แบบธรรมชาติ

การคลอดในน้ำเป็นอย่างไร ? หลายคนอาจรู้ หลายคนอาจงง หลายคนอาจกลัว เพราะว่าการที่จะมีลูกสักครั้งนั้น คงไม่ใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับคุณแม่ทั้งหลายที่ยังมีความกังวลใจ ในเรื่องของความปลอดภัยและเพื่อให้เกิดความกระจ่างว่าเขาทำกันอย่างไร

พ.ธนิต หัพนานนท์ และ พ.สันเกียรติ วยากรณ์วิจิตร์ มาเปิดคำนานการคลอด

 

การคลอดไม่ใช่การเจ็บป่วยarticle

คำแนะนำ 16 ข้อ จากองค์การอนามัยโลก ปี 2528 ในการดูแลการคลอดโดยมองการตั้งครรภ์

การคลอดเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงปกติในช่วงหนึ่งของชีวิต เพื่อหยุดยั้งกระแสการเพิ่มขี้นอย่างรวดเร็วของการใช้ยาและการผ่าตัดคลอดโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

 

การดูแลคลอดแบบสนับสนุนให้แม่คลอดได้เองarticle

Active Birth:การดูแลคลอดแบบสนับสนุนให้แม่คลอดได้เอง คือ

 การดูแลคลอดแบบสนับสนุนให้แม่คลอดได้เอง

การดูแลคลอดที่เป็นมิตรกับแม่และลูกโดยให้ความเคารพและศรัทธาในกระบวนการธรรมชาติ

'Respect and trust in nature '                                             

ก่อนคลอดควรรู้อะไร
หน้า 1/1
1
[Go to top]



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
เริ่มแรกอย่างมีพลัง กินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด Breastfeeding in first one hour save one million babies.