dot dot


Facebook page
BAMBI
WBW
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย
ศูนย์นมแม่แห้งประเทศไทย
Birth a Baby by Silk Laef


เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดคลอด

การผ่าตัดคลอด ( Ceasarean Section : C/S ) ในทางการแพทย์นับเป็นการคลอดผิดปกติป็นหัตถการที่ใช้ในการช่วยชีวิตทารกหรือแม่ที่อาจมีอันตรายระหว่างการคลอดจึงทำเมื่อมีเหตุบ่งชี้ทางการแพทย์ เพราะการผ่าตัดเป็นการผ่าตัดใหญ่หรือที่เรียกว่า Major Surgery ที่มีอาการข้างเคียงหรือผลกระทบอื่นๆ ที่แม่และทารกต้องเสี่ยงรับแม้จะไม่เกิดขึ้นในทุกราย

#ผ่าคลอด

#คลอดผิดปกติ



ข้อควรรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดคลอดarticle

การผ่าตัดทำคลอดทางหน้าท้องถือเป็นการผ่าตัดใหญ่เหมือนการผ่าตัดช่องท้อง สมอง หัวใจ ฯลฯ ซึ่งต้องทำด้วยความระมีดระวัง จะทำเมื่อมีเหตุบ่งชี้ว่าการทำผ่าตัดจะเป็นการช่วยชีวิตผู้ถูกผ่าตัดและมีผลดีมากกว่าการรักษาโดยวิธีอื่น หรือไม่มีทางเลือกอะไรเหลืออยู่แล้ว เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่อชีวิตและผลกระทบของการทำผ่าตัด

ผ่าตัดคลอด ดีจริงหรือ ??article

บางคนอาจคิดว่าการผ่าคลอดเป็นวิธีการที่ดี แต่คุณรู้ไหมว่ามีหลายสิ่งที่คุณควรรู้  องค์การอนามัยโลกกำหนดการมีอัตราการผ่าตัดคลอดที่ไม่เกินกว่าร้อยละ 15 เป็นการบอกคุณภาพของการดูแลคลอดที่ดี  และอัตราการผ่าตัดคลอดที่สูงขึ้นแสดงถึงการดูแลที่แม่และลูกมีความเสี่ยงตอปัญหามากขึ้น ในทางการแพทย์ถือว่าการผ่าตัดคลอดเป็นการผ่าตัดใหญ่เช่นเดียวกับการผ่ตัดกระเพาะอาหาร ลำไส้ ฯลฯ ที่มีโอกาสในการเสียเลือดมากกว่า  การทำผ่าตัดใช้ยาระงับความรู้สึกซึ่งก็เป็นอีกเรื่องที่ต้องมีความระมัดระงัง การหลีกเลี้ยงจึงเป็นการป้องปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ดีที่สุด  การใช้เมื่อข้อบ่งชี้ที่จำเป็นจึงจะเป็นการช่วยชีวิตแม่หรือลุกได้เป็นอย่างดี แต่ในทางกลับกันการใช้อย่างฟุ่มเฟือก็จะเพิ่มโอกาสของความเสี่ยงที่ทุกคนต้องยอมรับ บทความที่ ส่งต่อไปจะเป็นข้อมูลที่ช่วยให้ความกระจ่างได้ดีขึ้น

http://www.childbirthconnection.com/article.asp?ck=10166

ถ้าคุณเคยผ่าตัดคลอดมาแล้ว คุณเคยได้ยินการคลอดทางช่องคลอดหลังเคยผ่าตัดคลอดหรือไม่ ลองไปอ่านข้อมูลดูนะคะ

http://www.childbirthconnection.com/article.asp?ClickedLink=293&ck=10212&area=27

Non-Pharmacological Pain Relief in Labour by Dr.Tanit Habananadaarticle

Non-Pharmacological Pain Relief in Labour    ( S:194 J Med Assoc Thai Vol. 87 Suppl. 3 2004)
Tanit Habanananda*
* Department of Obstetrics and Gynecology, Samitivej Hospital (Sukhumvit)

หน้า 1/1
1
[Go to top]



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
เริ่มแรกอย่างมีพลัง กินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด Breastfeeding in first one hour save one million babies.