ReadyPlanet.com
dot dot


Facebook page
BAMBI
WBW
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย
ศูนย์นมแม่แห้งประเทศไทย
Birth a Baby by Silk Laef


การคลอดไม่ใช่การเจ็บป่วย article
  • ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับคนในชุมชนเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ

 ในการให้การดูแลสตรีก่อนคลอด เพื่อที่จะเอื้ออำนวยให้หญิงตั้งครรภ์

สามารถเลือกรูปแบบการคลอดตามที่ตนต้องการได้

  • ควรส่งเสริมการฝึกอบรมแก่เจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์ (midwives)

หรือผู้ให้บริการทำคลอด (birth attendant) หน้าที่ของการดูแลหญิงในช่วงก่อนคลอด

  การให้บริการทำคลอด (ในกรณีการตั้งครรภ์ปกติ) รวมทั้งการดูแลหลังคลอด

ควรเป้นหน้าที่ของผดุงครรภ์ และผู้ให้บริการทำคลอด

  • ข้อมูลและสถิติต่างๆ ซึ่งเกี่ยวกับการคลอดของโรงพยาบาล

 (เช่น สถิติการทำคลอดโดยการผ่าตัด) ควรเปิดเผยให้ประชาชนในเขตบริการได้รับทราบ

  • สถิติในการทำคลอดโดยใช้วิธีผ่าจัด (cesarean operation)

ไม่ว่าจะอยู่ในเขตใด ควรอยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 10-15

(ในอเมริกา สถิติการคลอดในวิธีดังกล่างอยู่ในระดับร้อยละ 23 โดยประมาณ)

  • ไม่มีหลักฐานแน่นอนว่าหากผ่าตัดทำคลอดครั้งแรกแล้ว

 จำเป็นจะต้องคลอดโดยวิธีการผ่าตัดในครั้งต่อไป สถานบริการที่มีความพร้อม

ในการให้บริการผ่าตัดฉุกเฉินควรส่งเสริมการคลอดโดยวิธีแบบธรรมชาติ

  • ไม่มีข้อบ่งชี้ชัดว่าการติดเครื่องฟังหัวใจเด็กระหว่างคลอดจะเป็นผลดีกับการคลอด
  • ไม่มีข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นในการต้องโกนผม (public shave)

หรือการทำการสวยอุจจาระ (enema) ก่อนทำการคลอด

  • ในช่วงเจ็บท้องและระหว่างคลอด ไม่ควรให้หญิงมีครรภ์นอนราบ

แต่ควรแนะนำให้ใช้ท่าตรงต่างๆ (เช่นยืน เดิน นั่ง หรือคุกเข่า)

และควรให้ผู้หญิงมีสิทธิเลือกท่าคลอดที่เหมาะสมกับตนเอง

  • ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องทำการจัดปากช่องคลอด(episiotomy)

ในการทำคลอดทุกครั้ง (Routine)

  • การเร่งการคลอด (induction) ไม่ควรกระทำบนพื้นฐานเพื่ออำนวยความสะดวกต่อแพทย์

 หรือหญิงมีครรภ์ แต่ควรกระทำในกรณที่มีความจำเป็นเท่านั้น

สถิติของการเร่งการคลอด ในเขต ไม่ควรเกินร้อยละ 10

  • ไม่ควรให้ยาบรรเทาความเจ็บปวด หรือบาชาต่างๆ ระหว่างการเจ็บครรภ์ในทุกกรณี

 ยกเว้น ในกรณที่การกระทำดังกล่างเป็นไปเพื่อนป้องกัน

หรือแก้ปัญหาแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการคลอด

  • ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะถุงน้ำคร่ำในทุกรายของการทำคลอด
  • ทารกแรกเกิดควรไดอยู่ใกล้ชิดกับมารดา ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องแยกทารกที่ปกติ

และสมบูรณ์ออกจากมารดาเพื่อการตรวจร่างกาย

  • ควรส่งเสริมให้นมมารดาแก่เด็กทารกโดยทันที ตั้งแต่ก่อนออกจากห้องทำคลอด
  • สถาบันที่ให้บริการทางสูติศาสตร์ที่ไม่เห็นด้วยกับการใช้อุปกรณ์เครือ่งมือ

โดยไม่มีเหตุผลระหว่างตั้งครรภ์และคลอด และคำนึงถึงปัจจัยทางสังคม

 ความคิด ความรู้สึก และจิตใจของผู้คลอดสมควรได้รับการยกย่องสนับสนุน

ให้เป็นตัวอย่างที่ดีต่อสถาบันอื่นๆ ให้มีผลต่อไปทั่วประเทศ

  • รัฐบาลควรพิจารณาตั้งกฎควบคุมการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การคลอดที่ออกใหม่

 ให้ผ่านการทดสอบที่รอบคอบก่อนที่จะนำมาใช้ในสถาบันทั่วไป




การคลอดวิถีธรรมชาติ - Active Birth

การคลอดวิถีธรรมชาติ ดีกับตัวคุณแม่และคุณลูกอย่างไร article
การดูแลเพื่อช่วยให้แม่คลอดได้เอง
ทำอะไรได้อีกบ้างเมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด
การคลอดวิถีธรรมชาติ
ทำอย่างไรเราจึงะคลอดวิถีธรรมชาติได้
การเคลื่อนไหวในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Mobility during labour )
สรีระร่างกายแม่ กับการเจ็บครรภ์คลอด
คลอดในน้ำ ช่วยให้ลูกรักสัมผัสธรรมชาติตั้งแต่แรกคลอด
เด็กที่คลอดธรรมชาติ ท้องไม่เสียง่ายๆ article
การใช้ท่าต่างๆระหว่างการคลอด ( Position during birth )
วิถึธรรมชาติเพื่อการคลอดธรรมชาติ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลการคลอด วิถีธรรมชาติ” article
การรับประทานอาหารและดื่มน้ำในช่วงเจ็บครรภ์คลอด (Fluids and food during labour)
สนับสนุนการมีคนอยู่เป็นเพื่อนในช่วงเจ็บครรภ์คลอด ( Encourage companionship during labour )
การใช้แม็กนีเซียม วัลเฟตในภาวะชักจากครรภ์เป็นพิษ ( Magnesium sulfate for treaing eclampsia)
การใช้ออกซิโตซินในระยะที่ 3 ของการคลอด ( Oxytocin in the third stage of labour )
กลยุทธในการลดการถ่านทอดเชื้อไวรัส HIV จากแม่สู่ลูก ( Stratrgies to reduce mother-to child transmition of HIV)
การลดการเจาะถุงน้ำคร่ำเร็วเกินไป ( Reduce use of early amniotomy )
ดูดน้ำมเมื่อกจากปาก คอ และจมูกของทารกแรกเกิดที่มีขี้เทาในน้ำตร่ำเท่านั้น ( Reserve suctioning for babies with meconium present)
ไม่จำเป็นต้องมีการสวนอุจจาระเสมอไป (Enema is not always necessary)
หยุดการโกนขนบริเวณหัวหน่าว (Stop pubic shaving)
หลีกเลี่ยงการตัดฝีเย็บ (Avoid epistomy)
คลอดในนำ แบบธรรมชาติ
การดูแลคลอดแบบสนับสนุนให้แม่คลอดได้เอง article
ก่อนคลอดควรรู้อะไร



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
เริ่มแรกอย่างมีพลัง กินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิด Breastfeeding in first one hour save one million babies.